ดูบทความ
ดูบทความหลักสูตร Inventory & Warehouse Management (อบรม 18 มี.ค.68)
หลักสูตร Inventory & Warehouse Management (อบรม 18 มี.ค.68)
Inventory & Warehouse Management
วิทยากร : อาจารย์สมฤทธิ์ ชุณหรัศมิ์
18 มีนาคม 2568
09.00 – 16.00 น.
** โรงแรมโกลด์ ออร์คิด กรุงเทพฯ (ถนนวิภาวดีฯ-สุทธิสาร)
*สถานที่จัดสัมมนาอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
หลักการและเหตุผล
คลังสินค้าเป็นหน่วยงานที่สำคัญมากในทุกองค์กรเพราะเป็นสถานที่จัดเก็บและส่งสินค้าให้ถึงมือลูกค้าอย่างถูกต้องทันต่อความต้องการของลูกค้า ดังนั้นเราควรมีระบบการเลือกจัดเก็บจำนวนที่เหมาะสม เก็บเป็นระเบียบถูกต้องและมีระบบการจัดสินค้าที่ดีเพื่อนำส่งสินค้าให้ลูกค้าอย่างถูกต้องและรวดเร็ว
การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างถูกวิธีจะทำให้สินค้าไม่มี่ความเสียหายและมีการเคลื่อนย้ายในระยะทางที่สั้นที่สุดก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญในงานบริหารคลังสินค้า หลักสูตรนี้ผู้เข้าอบรมจะทราบหลักการการปฏิบัติงานและการบริหารงานคลังสินค้าในทุกขั้นตอนที่สำคัญเพื่อการจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าได้อย่างประทับใจและสามารถควบคุมต้นทุนในการบริหารคลังสินค้าให้ต่ำอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ท่านจะได้รับทราบว่าคลังสินค้าสมัยใหม่มีวิธีจัดการอย่างไรเพื่อการนำไปปรับใช้
หัวข้อการอบรม
1. หลักการ ABC Analysis เพื่อการวางแผนให้สินค้ามีเพียงพอกับการเบิกส่งลูกค้าตลอดเวลา
2. หลักการ Pareto Ratio เพื่อเน้นจัดการกับสินค้าสำคัญมาก
3. การนำระบบ Barcode และ RF มาใช้ในการบริหารแบบ Modern Warehouse
4. ขั้นตอนการทำงานและหลักการทำงานที่จำเป็น ทั้ง Warehouse ทั่วไปและ Modern Warehouse
-
-
การวางแผนการสั่งสินค้าในเวลาที่เหมาะสม
-
การศึกษาสถิตการขาย / การจ่ายสินค้า
-
การตั้งค่า Minimum Stock Level (จุดสั่งสินค้า)
-
การตั้งค่า Maximum Stock Level (จุดสูงสุดในการสั่งสินค้า)
-
การสั่งสินค้าทุกวันโดยใช้เวลาน้อยที่สุด
-
การมีนโยบายในการเก็บสต็อค
-
การวิเคราะห์ของขาดเทียบกับนโยบายระดับการจัดเก็บ
-
-
การรับสินค้า Receiving
-
เอกสารและอุปกรณ์ทีสนับสนุนการทำงาน
-
การตรวจของที่มาส่งกับ O.
-
การจัดเวลาการใช้งาน Loading Bay ในการรับ-ส่งสินค้า ให้ไหลลื่น
-
ขั้นตอนการตรวจรับสินค้า
-
การรับสินค้าของ Modern Warehouse เช่นการคีย์น้ำหนักสินค้าทุกตัวเข้าระบบ
-
การจัดการรับส่งของที่ไม่ตรงกับใบ O.
-
-
การจัดเก็บสินค้า Put Away
-
การแบ่งพื้นที่จัดเก็บเป็น Pick Location และ Reserve / Replenishment
-
การจัดเก็บสินค้าเข้าที่ด้วยระบบ Barcode
-
จัดเก็บให้ทำงานแบบ FIFO/LIFO
-
การแก้ไขปัญหาพื่นที่ตำแหน่งที่จะจัดเก็บเต็มด้วยระบบ Tagging
-
การจัดเก็บและการทำลายเอกสารฝากจากหน่วยงานบัญชี
-
การจัดเก็บของ Modern Warehouse
-
-
การเติมสินค้า Replenishment
-
การวางแผนพื้นที่เก็บสินค้าเพื่อการเติมสินค้า
-
หลักการลดการใช้งานรถยก
-
การเตรียมรถยกให้พอเพียงกับการเติมสินค้า
-
การตั้งค่า Minimum Stock เพื่อการสั่งเติม (Modern Warehouse)
-
-
การจัดออร์เดอร์ Order Picking
-
วิธีการจัดออร์เดอร์วิธีต่างๆให้เหมาะสมกับปริมาณออร์เดอร์ / ลักษณะออร์เดอร์
-
ส่งออร์เดอร์เป็น Pallet
-
การส่งอย่างไรให้เป็น FIFO ให้ได้
-
การส่งโดย Pallet กระดาษ (ส่งเป็น Pallet แต่ Pallet ไม้ไม่ได้ขึ้นรถ)
-
การตัก Pallet ขึ้นรถ
-
-
จัดออร์เดอร์แบบ Full Case
-
การจัดแบบ Manual
-
การจัดการ Picking List
-
การจัดเตรียมรถเข็นในการจัดออร์เดอร์ให้ได้เร็ว
-
การจัดการกรณีของไม่มีให้จัด
-
-
การจัดแบบ Modern Warehouse
-
Voice Picking
-
-
จัดออร์เดอร์แบบ Break Case
-
การจัดแบบ Manual
-
การจัดโดยรถเข็น
-
การจัดโดยระบบสะพาน
-
-
การจัดแบบ Modern Warehouse
-
Pick to Light
-
Put to Light
-
-
จุดพักสินค้าก่อนขึ้นรถ
-
การกำหนดตำแหน่งย่อยที่จุดพัก
-
ออร์เดอร์เดียวกันจัดสองคนต้องมาที่จุดนัดพบ
-
การตรวจนับแบบ Dual Control ก่อนลำเลียงขึ้นรถ
-
-
การจัดส่ง
-
นโยบายหรือมาตรฐานการจัดส่ง
-
การจัดระบบ Routing เพื่อการจัดส่งที่มีประสิทธิภาพ
-
การจัดส่งที่มี Cost Per Order ต่ำ
-
การจัดการกรณีส่งสินค้าไม่สำเร็จ
-
การควบคุมความสามารถในการส่งออร์เดอร์ด้วย %OTIF (On Time In Full)
-
-
การตรวจสอบสต็อค ณ สิ้นเดือนเพื่อประเมินความเหมาะสมของปริมาณสินค้าที่เราจัดเก็บ
-
การตรวจปริมาณสต็อคทุกครั้งที่มีการหยิบสินค้าใน Modern Warehouse
-
การวางแผนพื่นที่จัดเก็บโดยรวม (Stock Location Allocation)
-
การบริหารและการลด Dead Stock อย่างได้ผล
-
การบริหารคลังด้วยป้ายสัญญลักษณ์ต่างๆ
-
การนับสต็อคแบบ Cycle Count
-
หลักการและการจัดการ
-
ระยะเวลาต่อรอบ
-
การแบ่งกลุ่มสินค้าในการทำ Cycle Count
-
การเลือกสินค้าสำคัญที่ตรวจนับหลายหนใน 1 รอบ
-
การปรับสต็อคทันทีที่พบการสินค้าสลับ
-
-
การเตรียมการนับสต็อคประจำปี
-
การจัดกำลังคนจากทุกหน่วยงาน
-
การจัดทำ Gantt Chart เพื่อการครวจนับสต็อคอย่างไหลลื่น
-
การกำหนดวันเวลาสำหรับทุกหน่วยงานในการตรวจนับสต็อค
-
การจัดเตรียมอาหารและเครื่องดื่มระหว่างตรวจนับสินค้า
-
การเตรียมเอกสารตรวจนับ
-
การแบ่ง Location กับจำนวนคนนับ
-
การเตรียมการการคีย์เข้าระบบ
-
การวางแผนการ Recount อย่างมีประสิทธิภาพ
-
การสรุปผลก่อนแจ้งทุกคนกลับบ้านได้
-
-
การตรวจนับสินค้าใน Modern Warehouse
-
การควบคุมการทำงานด้วย KPI ที่สามารถทำได้
-
การนำ Lean Sigma มาปรับใช้เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน
-
ระบบ Cross Docking เพื่อประสิทธิภาพในการจัดเก็บและจัดออร์เดอร์
-
การควบคุมความปลอดภัยในคลังสินค้า
-
-
-
-
-
-
ประกาศนียบัตร: บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัด
ราคาค่าอบรมปกติ (ต่อ 1 ท่าน)
ราคาค่าอบรมสัมมนา / ท่าน |
|||||
ประเภท |
ค่าสัมมนา |
VAT 7% |
หัก ณ ที่จ่าย 3% |
รวมจ่ายสุทธิ |
กรณีไม่มีหนังสือ
|
บุคคลทั่วไป/บริษัท |
4,300.00 |
301.00 |
129.00 |
4,472.00 |
4,601.00 |
ราคาพิเศษ !!! ชำระค่าอบรมสัมมนา ก่อนวันอบรม 15 วัน |
|||||
ประเภท |
ค่าสัมมนา |
VAT 7% |
หัก ณ ที่จ่าย 3% |
รวมจ่ายสุทธิ |
กรณีไม่มีหนังสือ
|
บุคคลทั่วไป/บริษัท |
3,900.00 |
273.00 |
117.00 |
4,056.00 |
4,173.00 |
วิธีการชำระเงิน:
1.โอนผ่านบัญชีธนาคาร ดังนี้
1.1
ธนาคารกรุงเทพ บัญชีสะสมทรัพย์ สาขา ซอยอารี เลขที่ 127-4-66322-6
1.2
ธนาคารไทยพาณิชย์ บัญชีออมทรัพย์ สาขา พหลโยธิน เลขที่ 014-2-63503-8
ชื่อบัญชี บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัด
2.ชำระด้วยเช็คบริษัท สั่งจ่าย บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัด
3.หัก ณ ที่จ่าย 3% ทะเบียนนิติบุคคลเลขที่ 0-1055-48105-59-0
บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัด
40/81 ซอยอินทามระ 8 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
4.บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิในการไม่คืนเงินที่ได้ชำระมาแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ
-
Tel. : 086-318-3151
-
E-mail : hipotraining@gmail.com
-
Website : www.hipotraining.co.th
-
ID Line@ : @761mvkmp หรือ สแกนคิวอาร์โค้ดด้านล่าง
-
Facebook Fan page : www.facebook.com/HIPOtraining หรือ สแกนคิวอาร์โค้ดด้านล่าง
21 กุมภาพันธ์ 2568
ผู้ชม 24 ครั้ง