ดูบทความ
ดูบทความหลักสูตร การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร (อบรม 11 พ.ย.68)
หลักสูตร การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร (อบรม 11 พ.ย.68)
การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร
(Purchasing spare parts in maintenance)
วิทยากร :อ.อนันต์ ดีโรจนวงศ์
- MBA Logistics Management
ที่ปรึกษาสมาพันธ์สมาคมอุตสาหกรรมสนับสนุน (A.S.I.A.) เครือข่าย Lean Production สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น
อุตสาหกรรมการผลิตและโลจิสติกส์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
ที่ปรึกษาสถานประกอบการดีเด่นโครงการ OPOAI กระทรวงอุตสาหกรรม
อาจารย์พิเศษ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
(การบริหารงานและการจัดการภาคอุตสาหกรรม)
และวิทยากรด้านการผลิตและโลจิสติกส์ ม.รัฐฯและเอกชนหลายแห่ง
11 พฤศจิกายน 2568
เวลา 09.00 - 16.00 น.
Novotel (สุขุมวิท20)
หลักการและเหตุผล
การควบคุมอะไหล่หรือ Spare Parts Control ที่ไม่มีประสิทธิภาพจะทำให้เหตุการณ์เครื่องจักรเสียที่รู้สาเหตุและวิธีแก้ไขต้องล้าช้าออกไปเนื่องจากไม่มีอะไหล่ที่จะนำมาใช้ได้ทันที เหตุการณ์ดังกล่าวไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใด ก็เรียกได้ว่าเป็นปัญหาที่มาจากการควบคุมอะไหล่ โดยมีเป้าหมายการทำ Spare Parts Control คือ
- ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้งานและความน่าเชื่อถือ (Efficiency and Reliability) ของเครื่องจักรอุปกรณ์ ผ่านกระบวนการ จัดซื้อ จัดจ้าง และจัดเก็บ ที่มีประสิทธิภาพ
- สร้างความมั่นใจให้กับงาน Breakdown Maintenance และงาน Preventive Maintenance ว่าเมื่อใดก็ตามที่ต้องการใช้อะไหล่เพื่อการซ่อม หรือเพื่อการบำรุงรักษา ต้องหาได้ในทันทีหรือใช้เวลาน้อยที่สุด
- ลดจำนวนอะไหล่คงคลังหรือ Spare Parts Inventory ให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อลดต้นทุนจม เพื่อลดต้นทุนการจัดเก็บ และเพื่อลดพื้นที่ในการจัดเก็บ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อลดต้นทุนสินค้าคงคลังประเภทอะไหล่ อุปกรณ์ (Spare parts)
2. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการบำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) และเชิงพยากรณ์ (Predictive Maintenance) อย่างได้ผล
3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร (Overall Equipment Effectiveness) ได้จากการเพิ่มเวลาการผลิตของเครื่องจักรด้วยการซ่อมบำรุงได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น
4. เพื่อลดเวลาความสูญเสีย (Losses time) ที่เกิดจากเวลาการหยุดของเครื่องจักรที่ยาวนาน (Machine Break-down or Downtime)
5. เพื่อลดความสูญเปล่า (Wastes) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต ด้วยการลดเวลาที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าระหว่างการซ่อมบำรุงเครื่องจักร
6. เพื่อลดของเสีย (Defects) ที่เกิดขึ้นก่อนการซ่อมบำรุงเครื่องจักร
7. เพื่อสามารถวางแผนการจัดซื้อ จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ได้อย่างทันเวลาพอดี (Just in time Purchasing)
8. เพื่อให้มีปริมาณวัสดุเผื่อฉุกเฉิน (Safety Stock spare parts) ที่ต่ำอย่างเหมาะสม
9. เพื่อสามารถผลิตสินค้าได้ตามปริมาณและเวลาที่ลูกค้ากำหนดได้อย่างต่อเนื่อง
10. เพื่อลดเวลาการผลิต (Production cycle time) เพิ่มกำลังการผลิต (Capacity) และเพิ่มกำไร (Profit) ให้สถานประกอบการได้เพื่อสามารถผลิตสินค้าและส่งมอบได้ทันตามที่ลูกค้ากำหนด
11. เพื่อลดเวลาการรอคอยวัตถุดิบจาก Supplier ที่มี Lead time การส่งมอบที่ยาวนานได้
12. ลดเวลาการ Downtime ของเครื่องจักรที่เกิดจากการป้อนวัตถุดิบไม่ทันหรือไม่เพียงพอ
13. ลดปริมาณและต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูป และสินค้าสำเร็จรูปลงได้
14. ลดต้นทุนการผลิตสินค้าจากการผลิตแบบ Just in time (JIT)
15. ลดต้นทุนการจัดซื้อ จัดหา
16. ลดความแปรปรวนของการผลิตและแผนการผลิตประจำวัน
17. ลดปริมาณสินค้า Safety Stock
18. ลดพื้นที่การจัดเก็บสินค้าในคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
19. สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้อย่างยั่งยืน
หัวข้อสัมมนา
หัวข้อการสัมมนา : 1 วัน เวลา 09.00 – 16.00 น.
เวลา 09.00-10.30 น.
1. การควบคุมอะไหล่คืออะไร (Spare Parts Control) และเป้าหมายของการควบคุมอะไหล่
2. ขั้นตอนการจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักรอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร
4. ประเภทของการซ่อมบำรุงรักษา
5. การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance)
6. ความหมายของค่า OEE และ Loss time ของเครื่องจักร
7. การจำแนกประเภทของวัสดุหรืออุปกรณ์ในการบำรุงรักษา
8. การควบคุมสินค้าคงคลังและการแบ่งกลุ่มสินค้าแบบ ABC (ABC Analysis)
เวลา 10.45-12.00 น.
9. วิธีการสั่งซื้ออะไหล่
10. การจำแนกประเภทของวัสดุหรืออุปกรณ์ในการบำรุงรักษา
11. ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการกำหนดค่า Stock levels
12. การกำหนดปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity) หรือ EOQ
เวลา 13.00-14.30 น.
13. Safety Stock ปริมาณสินค้าคงคลังเพื่อความปลอดภัย
14. ตารางและแผนการผลิตหลัก (Master Planning Schedule: MPS)
15.การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ MRP (Material Resource Planning)
เวลา 14.45-16.00 น.
16. เกณฑ์การประเมินความเสี่ยงหรือการคัดเลือกคุณภาพของ Supplier
17. กลยุทธ์การมีข้อตกลงในระยะยาวสำหรับงานจัดซื้อและจัดหา
18. วิธีการควบคุมปริมาณสินค้าคงคลังให้ลดลงอย่างเหมาะสม
วิธีการสัมมนา การบรรยาย ให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำ
กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหลัก ผู้จัดการโรงงาน/ ผู้บริหารระดับกลาง หรือเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร
ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้า วิศวกร
ระยะเวลา 1 วัน จำนวน 6 ชั่วโมง เวลา 9.00 – 16.00 น.
ประกาศนียบัตร: บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัด
ราคาค่าอบรมปกติ (ต่อ 1 ท่าน)
ราคาค่าอบรมสัมมนา / ท่าน |
|||||
ประเภท |
ค่าสัมมนา |
VAT 7% |
หัก ณ ที่จ่าย 3% |
รวมจ่ายสุทธิ |
กรณีไม่มีหนังสือ |
บุคคลทั่วไป/บริษัท |
3,900.00 |
273.00 |
117.00 |
4,056.00 |
4,173.00 |
ราคาพิเศษ !!! ชำระค่าอบรมสัมมนา ก่อนวันอบรม 15 วัน |
|||||
ประเภท |
ค่าสัมมนา |
VAT 7% |
หัก ณ ที่จ่าย 3% |
รวมจ่ายสุทธิ |
กรณีไม่มีหนังสือ |
บุคคลทั่วไป/บริษัท |
3,700.00 |
259.00 |
111.00 |
3,848.00 |
3,959.00 |
วิธีการชำระเงิน:
1.โอนผ่านบัญชีธนาคาร ดังนี้
1.1 ธนาคารกรุงเทพ บัญชีสะสมทรัพย์ สาขา ซอยอารี เลขที่ 127-4-66322-6
1.2 ธนาคารไทยพาณิชย์ บัญชีออมทรัพย์ สาขา พหลโยธิน เลขที่ 014-2-63503-8
ชื่อบัญชี บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัด
2.ชำระด้วยเช็คบริษัท สั่งจ่าย บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัด
3.หัก ณ ที่จ่าย 3% ทะเบียนนิติบุคคลเลขที่ 0-1055-48105-59-0
บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่ง แอนด์ คอนเซ้าท์แทนซี่ จำกัด
40/81 ซอยอินทามระ 8 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
4.บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิในการไม่คืนเงินที่ได้ชำระมาแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ
- Tel. : 086-318-3152
- E-mail : hipotraining@gmail.com
- Website : www.hipotraining.co.th
- ID Line@ : @761mvknp หรือ สแกนคิวอาร์โค้ดด้านล่าง
- Facebook Fan page : www.facebook.com/HIPOtraining หรือ สแกนคิวอาร์โค้ดด้านล่าง
01 เมษายน 2568
ผู้ชม 26 ครั้ง